cChardet/test/testdata/th/UTF-8/wikitop_th_UTF-8.txt
2012-06-26 16:13:05 +09:00

283 lines
20 KiB
Text
Raw Blame History

This file contains invisible Unicode characters

This file contains invisible Unicode characters that are indistinguishable to humans but may be processed differently by a computer. If you think that this is intentional, you can safely ignore this warning. Use the Escape button to reveal them.

This file contains Unicode characters that might be confused with other characters. If you think that this is intentional, you can safely ignore this warning. Use the Escape button to reveal them.

หน้าหลัก
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
24 ตุลาคม 2554, 16:30 รีเฟรช
ยินดีต้อนรับสู่วิกิพีเดีย
สารานุกรมเสรีที่ทุกคนสามารถแก้ไขได้
วิกิพีเดียภาษาไทยมี 69,781 บทความ
______________________ เรียกดู ค้นหา
ค้นหา: เรียงตามตัวอักษร • หมวดหมู่ | ดูหน้าทั้งหมด
บทความคัดสรรเดือนนี้
บทความคัดสรรเดือนนี้
ภาพแสดงดาวเคราะห์และดาวเคราะห์แคระในระบบสุริยะ
โดยย่อขนาดของดาวตามอัตราส่วนจริง
แต่ระยะห่างระหว่างดาวไม่ใช่อัตราส่วนจริง
ระบบสุริยะ ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่นๆ
ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8
ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 166 ดวง ดาวเคราะห์แคระ 5
ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่นๆ
อีกนับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย วัตถุในแถบไคเปอร์ ดาวหาง
สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์
โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่านต่างๆ ของระบบสุริยะ
นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชั้นในจำนวน 4 ดวง
แถบดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจำนวน 4 ดวง
และแถบไคเปอร์ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่เย็นจัดเป็นน้ำแข็ง
พ้นจากแถบไคเปอร์ออกไปเป็นเขตแถบจานกระจาย ขอบเขตเฮลิโอพอส
(เขตแดนตามทฤษฎีที่ซึ่งลมสุริยะสิ้นกำลังลงเนื่องจากมวลสารระหว่างดวงดาว)
และพ้นไปจากนั้นคือย่านของเมฆออร์ต
กระแสพลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ (หรือลมสุริยะ)
จะแผ่ตัวไปทั่วระบบสุริยะ
สร้างโพรงขนาดใหญ่ขึ้นในสสารระหว่างดาวเรียกกันว่า เฮลิโอสเฟียร์
ซึ่งขยายออกไปจากใจกลางของแถบจานกระจาย
ดาวเคราะห์ชั้นเอกทั้ง 8 ดวงในระบบสุริยะ
เรียงลำดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก
ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน (อ่านต่อ...)
บทความคัดสรรก่อนหน้านี้: อสุรกายดงดิบ ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดิชิ
ประเทศเปรู
ที่เก็บถาวร บทความคัดสรรอื่น ๆ
รู้ไหมว่า
รู้ไหมว่า...
เรื่องน่าสนใจจากบทความล่าสุดของวิกิพีเดีย :
ดาวบริวารบางดวงของดาวยูเรนัส
* ... ดาวบริวารของดาวยูเรนัส ที่รู้จักแล้ว 27 ดวง (บางส่วนในภาพ)
ทั้งหมดมีชื่อตามตัวละครในผลงานการประพันธ์ของวิลเลียม เชกสเปียร์
และอเล็กซันเดอร์ โปป
* ... เมื่อ พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานนานาชาติเจนีวารองรับผู้โดยสาร 11.7
ล้านคน และเที่ยวบินกว่า 170,000 เที่ยว
* ...
มูลนิธิกระจกเงามีโครงการช่วยเป็นสื่อกลางในการยื่นเรื่องขอสัญชาติไทย
แก่ชาวเขา และสร้างความตระหนักเรื่องการค้ามนุษย์
* ... เมื่อ พ.ศ. 2490 มอริส ฟาร์คดำน้ำลึก 385 เมตร
และเสียชีวิตด้วยอาการเมาไนโตรเจน
นับเป็นนักดำน้ำคนแรกที่เสียชีวิตขณะใช้ถังออกซิเจน
* ...
อรรถศาสตร์สาขาหนึ่งศึกษาเกี่ยวกับการแปลความหมายจากป้ายและสัญลักษณ์ท
ี่เหล่าองค์กรและชุมชนใช้ในสถานการณ์และบริบทหรือสภาพแวดล้อมเฉพาะ
เรื่องที่ผ่านมา สร้างบทความใหม่ เสนอบทความ
เรื่องจากข่าว
เรื่องจากข่าว
มูอัมมาร์ กัดดาฟี
* กลุ่มแบ่งแยกดินแดนบาสก์ อีทีเอ ประกาศจะยุติการเคลื่อนไหวด้วยอาวุธ
* อดีตผู้นำลิเบีย มูอัมมาร์ กัดดาฟี (ในภาพ) เสียชีวิตแล้ว
* เกิดเหตุการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่ ก่อให้เกิดความเสียหาย 61
จังหวัดทั่วประเทศไทย
* พระราชพิธีอภิเษกสมรสระหว่าง สมเด็จพระราชาธิบดี
และสมเด็จพระราชินีแห่งภูฏาน จัดขึ้น ณ มณฑลพูนาคา ประเทศภูฏาน
* สตีฟ จอบส์ ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทแอปเปิล
เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งตับอ่อน รวมอายุได้ 56 ปี
* แดน เชชท์มัน ศาสตราจารย์ชาวอิสราเอลจากมหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต
ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีประจำปี 2554
เหตุการณ์ปัจจุบัน
วันนี้ในอดีต
วันนี้ในอดีต
24 ตุลาคม: วันสหประชาชาติ; วันเอกราชในแซมเบีย (พ.ศ. 2507)
การให้สัตยาบันในสนธิสัญญามึนสเตอร์
* พ.ศ. 1803 (ค.ศ. 1260) มหาวิหารชาทร์ ในเมืองชาทร์ ประเทศฝรั่งเศส
มีพิธีวางศิลาฤกษ์ โดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส
* พ.ศ. 2191 (ค.ศ. 1648) สนธิสัญญามึนสเตอร์
สนธิสัญญาฉบับที่สองในสนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย ได้รับการลงนาม
(ในภาพ) ซึ่งมีผลยุติสงครามสามสิบปีในทวีปยุโรป
และการปฏิวัติเนเธอร์แลนด์
และมีเนื้อหาให้การรับรองสาธารณรัฐเจ็ดสหเนเธอร์แลนด์และสหพันธรัฐสวิส
เป็นรัฐเอกราช
* พ.ศ. 2472 (ค.ศ. 1929) สโมสรฟุตบอลเชฟฟิลด์
หนึ่งในสโมสรฟุตบอลที่มิใช่สโมสรฟุตบอลในมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดใ
นโลกเท่าที่เคยมีการบันทึก ถูกจัดตั้งขึ้น
* พ.ศ. 2474 (ค.ศ. 1931) สะพานจอร์จ วอชิงตัน
ซึ่งปัจจุบันนับว่าเป็นหนึ่งในสะพานที่มีการจราจรหนาแน่นที่สุดแห่งหนึ
่งของโลก เชื่อมระหว่างนครนิวยอร์กกับฟอร์ตลี รัฐนิวเจอร์ซี
ทำพิธีวางศิลาฤกษ์
* พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) กฎบัตรสหประชาชาติ
ธรรมนูญขององค์การสหประชาชาติ มีผลบังคับใช้
ภายหลังจากการให้สัตยาบันของสาธารณรัฐจีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต
สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา และชาติที่ร่วมลงนามส่วนใหญ่
วันก่อนหน้านี้: 23 ตุลาคม 22 ตุลาคม 21 ตุลาคม
จดหมายเหตุเดือนตุลาคม
สารานุกรม
สารานุกรม
* หมวดหมู่:ธรรมชาติ ธรรมชาติ
* หมวดหมู่:ศิลปะ ศิลปะ
* หมวดหมู่:วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
* หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์
* หมวดหมู่:เทคโนโลยี เทคโนโลยี
* หมวดหมู่:ความเชื่อ ความเชื่อ
* หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์
* หมวดหมู่:สังคม สังคม
* หมวดหมู่:ประเทศไทย ประเทศไทย
* วิกิพีเดีย:สถานีย่อย สถานีย่อย
ป้ายบอกทาง
* ศาลาประชาคม กระดานข่าว โครงการ
ทรัพยากรและกิจกรรมซึ่งครอบคลุมวิกิพีเดียอย่างกว้างขวาง
* เลขาชาววิกิพีเดีย ถามข้อสงสัยเกี่ยวกับการใช้งานวิกิพีเดีย
* ปุจฉา-วิสัชนา ถามข้อสงสัยทั่วไปที่คุณอยากรู้
* ข่าวไซต์ ประกาศ อัพเดต
บทความและข้อมูลข่าวเกี่ยวกับวิกิพีเดียและมูลนิธิวิกิมีเดีย
* ศาลาชุมชน สำหรับอภิปรายเกี่ยวกับวิกิพีเดีย
รวมถึงรายงานปัญหาเทคนิคและเสนอนโยบาย
* Local Embassy For Wikipedia-related discussion in languages other
than Thai.
โครงการพี่น้อง
วิกิพีเดียดำเนินการโดยมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร
ซึ่งเป็นผู้ดำเนินการอีกหลายโครงการ ได้แก่
วิกิซอร์ซ
วิกิซอร์ซ
เอกสารต้นฉบับเสรี
คอมมอนส์
คอมมอนส์
ศูนย์รวมสื่อเสรี
วิกิพจนานุกรม
วิกิพจนานุกรม
พจนานุกรมและอรรถาภิธาน
วิกิตำรา
วิกิตำรา
ตำราและคู่มือเสรี
วิกิคำคม
วิกิคำคม
แหล่งรวบรวมคำพูด
เมต้าวิกิ
เมต้าวิกิ
ศูนย์ประสานงานโครงการวิกิมีเดีย
วิกิสปีชีส์
วิกิสปีชีส์
สารบบอนุกรมวิธาน
ภาษาอื่น
นอกจากภาษาไทยแล้ว วิกิพีเดียยังมีรุ่นภาษาอื่นอีก 269 ภาษาทั่วโลก
โดยวิกิพีเดียขนาดใหญ่ปรากฏในรายชื่อด้านล่าง
* 500,000 บทความขึ้นไป: Deutsch (เยอรมัน) • English (อังกฤษ) •
Español (สเปน) • Français (ฝรั่งเศส) • Italiano (อิตาลี) • 日本語
(ญี่ปุ่น) • Nederlands (ดัตช์) • Polski (โปแลนด์) • Português
(โปรตุเกส) • Русский (รัสเซีย)
* 150,000 บทความขึ้นไป: Català (คาตาลัน) • Čeština (เช็ก) • Suomi
(ฟินแลนด์) • Magyar (ฮังการี) • Norsk (bokmål) (นอร์เวย์) • Română
(โรมาเนีย) • Svenska (สวีเดน) • Türkçe (ตุรกี) • Українська
(ยูเครน) • 中文 (จีน)
* 100,000 บทความขึ้นไป: العربية (อาหรับ) • Dansk (เดนมาร์ก) •
Esperanto (เอสเปรันโต) • עברית (ฮีบรู) • Bahasa Indonesia
(อินโดนีเซีย) • 한국어 (เกาหลี) • Lietuvių (ลิทัวเนีย) • Bahasa Melayu
(มลายู) • Slovenčina (สโลวัก) • Slovenščina (สโลวีเนีย) • Српски /
Srpski (เซอร์เบีย) • Tiếng Việt (เวียดนาม) • Volapük (โวลาปุก) •
Winaray (วาราย-วาราย)
* 50,000 บทความขึ้นไป: Български (บัลแกเรีย) • Ελληνικά (กรีก) •
Eesti (เอสโตเนีย) • Euskara (บาสก์) • فارسی (เปอร์เซีย) • Gallego
(กาลิเซีย) • हिन्दी (ฮินดี) • Hrvatski (โครเอเชีย) • Krèyol ayisyen
(เฮติ) • नेपाल भाषा (เนวารี) • Norsk (nynorsk) (นีนอสก์) •
Armãneashce (อะโรมาเนียน) • Simple English (อังกฤษอย่างง่าย)
ดึงข้อมูลจาก
เครื่องมือส่วนตัว
* ล็อกอิน / สร้างบัญชีผู้ใช้
เนมสเปซ
* บทความ
* อภิปราย
สิ่งที่แตกต่าง
ดู
* เนื้อหา
* ดูโค้ด
* ประวัติ
การกระทำ
สืบค้น
____________________ (Submit) สืบค้น
ป้ายบอกทาง
* หน้าหลัก
* เหตุการณ์ปัจจุบัน
* ถามคำถาม
* บทความคัดสรร
* บทความคุณภาพ
* สุ่มบทความ
มีส่วนร่วม
* ศาลาประชาคม
* ปรับปรุงล่าสุด
* เรียนรู้การใช้งาน
* ติดต่อวิกิพีเดีย
* บริจาคให้วิกิพีเดีย
* วิธีใช้
พิมพ์/ส่งออก
* สร้างหนังสือ
* ดาวน์โหลดในชื่อ PDF
* หน้าสำหรับพิมพ์
เครื่องมือ
* หน้าที่ลิงก์มา
* ปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
* อัปโหลด
* หน้าพิเศษ
* ลิงก์ถาวร
* อ้างอิงบทความนี้
ภาษาอื่น
* หน้านี้แก้ไขล่าสุดเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2554 เวลา 18:54 น.
* อนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์
แบบแสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน; เงื่อนไขอื่นอาจใช้ประกอบด้วย
โปรดศึกษาเงื่อนไขการใช้งาน
Wikipedia® เป็นเครื่องหมายการค้าจดทะเบียนของมูลนิธิวิกิมีเดีย
* ติดต่อเรา
* นโยบายความเป็นส่วนตัว
* เกี่ยวกับวิกิพีเดีย
* ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ